01 มีนาคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 19 (01/11/53-28/02/54)


สรุปการฝึกงาน ที่ได้รับจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ในการปฏิบัติงานทั้งหมดที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลา 4 เดือนนั้น ฝ่ายที่ดิฉันอยู่นั้น คือฝ่ายการเงินค่าทดแทนสายงานพัฒนา ฝ่ายนี้ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้งานหลากหลายมากมาย และยังได้รู้จักผู้คนมากมาย ทำให้ดิฉันได้รู้จักการทำงานในระบบงานมีขั้นตอนอย่างไร กว่าที่จะมีการอนุมัติเงินไปจ่ายประชาชนแต่ระทีนั้นมีขั้นตอนอย่างไร และถ้าประชาชนรายใดมีปัญหาต้องทำอย่างไร การฟ้องศาลต้องทำอย่างไร การเจรจากับบุคคลที่มารับเงิน หรือที่เรียกว่าจ่ายส่วนกลางนั้น และมีความรู้เรื่องการทำหนังสือ และส่งขออนุมัติต่าง ๆ

สิ่งที่ได้รับโดยตรงจากการปฏิบัติงานที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยนั้น คือ

  1. ได้เรียนรู้จักการวางตัวให้เข้ากับสถานที่ และนิสัยของผู้ปฏิบัติงานว่าเป็นอย่างไร
  2. ได้รู้จักการรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ และทำให้คอบรอบต่องานมากยิ่งขึ้น
  3. ได้เรียนรู้ว่าฝ่ายการเงิน มีขั้นตอนการจ่ายเงินอย่าง เพราะไม่เคยมีการจ่ายเงินสด แต่ถ้าประชาชนรายใดได้รับน้อยกว่า 3,000 บาท นี้นต้องจ่ายเงินสด ส่วยใหญ่แล้วจะจ่ายเป็นเช็ค
  4. ได้เรียนรู้การขอเลขหนังสือ การพิมพ์หนังสือถึงหน่วยงานต่าง ๆ 
  5. ได้เรียนรู้ถึงประสบการณ์ชีวิตเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก เพราะเป็นสิ่งที่หาไม่ได้ในห้องเรียน 

24 กุมภาพันธ์, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 18 (28/02/2554)

- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องขอถอนเงินค่าทดแทน ธนาคารออมสิน สาขาตาก จำนวน 2 ชุด 8 แผ่น
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องการวางเงินค่าทดแทน ธนาคารออมสิน สาขาหนองบัวลำภู จำนวน 4 แผ่น
- ทำการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ จำนวน 2-3 แผ่น
- ทำการลงเรื่อง ๆ จำนวน 3-4 เรื่อง
- ทำการออกเช็คทำนวน 7 ใบ
- ทำการบันทึกบัญชี จำนวน 7 ใบ
- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 5 เลข เรื่องขอให้อกดร๊าฟท์ ,ขอถอนเงินค่าทดแทน ,การวางเงินค่าทดแทน
ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาลงเรื่องมักอ่านลายมือพี่ที่ฝึกงานไม่ออก
  2. เวลาพิมพ์หนังสือ การวางเงินค่าทดแทน ต้องมีการคำนวณภาษี จะยากในการคำนวณ
  3. เวลาบันทึกบัญชีจะต้องเข้าระบบ SAP นั้นยากต่อการใช้งาน
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องถามเจ้าของเรื่อง ว่าอ่านว่าอะไร หรือเขียนว่าอะไร
  2. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานคำนวณให้ หรือต้องคำนวณเอง
  3. ต้องมีการเปิดเอกสาร หรือหนังสือประกอบการทำรายการ

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 17 (21-25/02/2554)

- ทำการคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ต้องไปจ่ายตามแปลง หรือใบสำคัญ จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอเปลี่ยนแปลงผู้มีอำนาจลงนาม จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ของถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง คำร้องขอเปลี่ยนแปลงผู้เบิกจ่าย จำนวน 2 ชุด
- ทำการเขียนเอกสารเงินยืมทดรอง จำนวน 2 ใบ
- ทำการเขียนหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จำนวน จำนวน 45 รายการ

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาคำนวณภาษีที่แปงสำรวจ มีรายชื่อผู้ถือครอง 2 ขึ้นไปต้องนำเอาจำนวน ทั้งหมดมาหาร เท่ากับจำนวนคน จะยากในการคำนวณ
  2. เวลาพิมพ์หนังสือ เรื่องคำร้องขอเปลี่ยนแปลงผุ้มีอำนาจเบิกจ่าย จะยากในการหาเอกสาร
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานสอนว่าต้องคำนวณแบบใด
  2. ต้องไปขอเอกสารมาถ่ายสำเนาเพื่อใช้เป็นหลักฐาน

17 กุมภาพันธ์, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 16 (14-17/02/2554)

- ทำการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ จำนวน 8 หน้า
- ทำการเขียนเอกสารเงินยืม จำนวน 1 ใบ
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอถอนออมสิน จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง วางเงินค่าทดแทน จำนวน 4 ชุด
- ทำการขอเลขหนังสือ จากแผนกสารบรรณ จำนวน 2 เลข
- ทำการค้าหาใบสำคัญจ่าย จำนวน 3 รายการ
- ทำการคำนวณดอกเบี้ยออมสิน จำนวน 34 รายการ

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาค้นหาเอกสารบางรายการไม่มีในแฟ้ม
  2. เวลาเขียนเอกสารเงินยืมจะคำนวนดอกเบี้ยที่ต้องรวมกับเงินต้นไม่ถูก
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องค้นหาในระบบ SAP ว่าข้อมูลดังกล่าวอยู่ที่ใด
  2. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานสอนว่าต้องคำนวณแบบใด

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 15 (7-11/02/2554)

- ทำกาลงเลขหนังสือ จำนวน 5 เลข
- ทำการขอเลขหนังสือ 6 เลข
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 8 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอให้ออกดร๊าฟ จำนวน 8 ชุด
- ทำการพิมพ์งานต่าง ๆ ประมาณ 4-5 หน้า
- ทำการพิมพ์เอกสารล้างเงินยืม จำนวน 2 ใบ
- ทำการบันทึกบัญชี (F-53) ในระบบ SAP
- ทำการลงทะเบียนเช็ค (FCH5) ในระบบ SAP

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาทำการบันทึกบัญชี (F-53) ยังมีความสับสนอยู่
  2. เวลาทำการขอเลขหนังสือจากแผนกสารบรรณ เจ้าหน้าที่เสียงดัง บางครั้งไม่สารารถสนทนาต่อได้
 วิธีการแก้ไขปัญหา 
  1. ต้องทำการเปิดเอกสารประกอบกับการทำงาน
  2. หัวหน้าที่แผนกสารบรรณต้องบออกให้ลดเสียงลงบาง

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 14 (31-4/2/2554)

- ทำการออกเลขหนังสือ จำนวน 4 เลข
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องการถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 8 ชุด
- ทำการเขียนเอกสานเงินยืม จำนวน 1 ใบ
- ทำการคำนวณดอกเบี้ยออมสิน จำนวน 40 รายการ
- ทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 2 ใบ
- ทำการเก็บข้อมูล ภงด.53 จากแฟ้มตั้งแต่ มกราคม 2553 -ธันวาคม 25553



ปัญหาและอุปสรรค
  1.  เวลาเก็บข้อมูล จากยากในการหาข้อมูล เพราะบางรายการ ไม่ได้เก็บเข้าแฟ้ม
  2.  เวลาคำนวณดอกเบี้ย ตัวเลขมากๆๆ ยังมีความสับสนอยู่บาง 
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1.  ต้องเรียกดูในระบบ SAP 
  2.  คำนวณเองก่อน และจึงให้พีที่ฝึกงานคำนวณดุว่าตรงกันหรึอไม




31 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 13 (24-28/1/2554)

- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 7 เลข
- ทำการพิมพ์เอกสาร และหนังสือต่างๆ ประมาณ 26 หน้า
- ทำการศึกษาระบบ SAP เพิ่มเติ่ม
- ทำการลงเลขที่หนังสือ ประมาณ 27 เลข
- ทำการปรับสมุดเงินฝาก จำนวน 1 เล่ม


ปัญหาและอุปสรรค
  1. มีคาวมสับสนในการเรียงเอกสารที่จะส่งให้ฝ่ายเซ็น
  2. ยังมีความไม่เข้าใจในระบบ SAP มากเท่าที่ควร
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องให้ฝึกงานสอน และมีการจดบันทึก
  2. ต้องศึกษาจากคู่มือ หรือจากพี่ที่ฝึกงาน

24 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงานสัปดาห์ที่ 12 (17-21/1/2554)

- ทำการแก้ไขเอกสาร เรื่อง การออกดร๊าฟท์ จำนวน 4 ชุด
- ทำการแก้ไขเอกสาร เรื่อง ขอเปิดบัญชี จำนวน 4 ชุด
- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 2 เลข
- ทำการเข้าระบบ SAP เพื่อลงทะเบียนเช็ค จำนวน 5 ใบ
- เข้าระบบ SAP เพื่อทำลงทะเบียนและทำใบรับรองภาษี จำนวน 5 ใบ
- ทำการเข้าระบบเช็ค เพื่อทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 5 ใบ


ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาที่เข้าระบบ SAP ช้ามาก
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องเรียกฝ่ายระบบมาดูว่าเป็นเพราะอะไร

10 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 11(10-14/01/2554)

- ทำการตรวจเช็คใบสรุปการจ่ายเงิน (Payment Slip) จำนวน 3 เดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคา ถึง เดือน ธันวาคม 2553 ประมาณ 1458 รายการ
- ทำการเช็คดอกเบี้ยสมุดเงินฝากของธนาคารออมสิน จำนวน 2 ชุด ชุดละ 203 รายการ
- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 3 เลข
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องการถอนปิดบัญชีจำนวน 2 สาขา จำนวน 4 หน้า
- ทำการออกเช็ค จำนวน 2 ใบ
- ทำการตรวจเช็คสมุดเงินฝากของธนาคารออมสิน ว่าตรงกับในระบบ SAP หรือเปล่า
-ทำการพิมพ์เอกสารเพิ่มเติ่ม และแก้ไชเอกสาร จำนวน 6-7 หน้า
 
ปัญหาและอุปสรรค
  1. มีการสับสนในการแยกสรุปการจ่ายเงิน (Payment Slip)
  2. เวลาเช็คดอกเบี้ยกับสมุดเงินฝากบางรายการดอกเบี้ยไม่เท่ากัน
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการแยกรายละเอี่ยดให้ดี
  2. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานช่วยดู

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 10(4-7/01/2554)

- ได้ทำการค้นหาใบภาษี จำนวน 3 ชุด
- ทำการเช็คสมุดเงินฝากออมสิน กับทีปรี้นออกมาจาก SAP จำนวน 70 เล่ม
- ได้ทำการส่งสำเนาเอกสาร จำนวน 38 ชุด
- ทำการตรวจสอบ (Payment Slip) 5 มัดใหญ่
- ทำการเช็คดอกเบี้ยออมสิน จำนวน 203 เล่ม

ปัญหาและอุปสรรค์

  1. เวลาคำนวณดอกเบี้ยจะไม่ตรงกันกับที่พี่ที่ฝึกงานคำนวณ
  2. ในสมุดออมสินบางเล่มไม่มี Vendor มาด้วย
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการคำนวณหลาย ๆ รอบ พร้อมกับจดวิธีการคำนวณที่ง่ายต่อการเข้าใจ
  2. ต้องมีการค้นหา Vendor ในระบบ SAP

04 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 9 (27-30/12/2553)

- ได้ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 1 เลข เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ปรับสมุดเงินฝาก
- และยังได้ส่งสำเนาเอกสาร จำนวน 6-7 ชุด พร้อมกับการเก็บเข้าแฟ้ม จำนวน 2 ชุด
- ยังได้ทำการทำกับข้าวเพื่อที่จะกินเลี้ยงในวันที่ 29/12/2553 พร้อมกับการเก็บอุปกรณ์ต่างๆเข้าที่

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาขอเลขหนังสือเจ้าหน้าที่มักไม่คอยได้ยินเสียง
  2. เวลาทำการกินเลี้ยงยังไม่เปนระบบระเบียบ มากนัก
วิธีแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการพูดซ้ำ ๆ หลานรอบ
  2. ต้องมีการเข้าแถวในการรับอาหาร