01 มีนาคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 19 (01/11/53-28/02/54)


สรุปการฝึกงาน ที่ได้รับจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ในการปฏิบัติงานทั้งหมดที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลา 4 เดือนนั้น ฝ่ายที่ดิฉันอยู่นั้น คือฝ่ายการเงินค่าทดแทนสายงานพัฒนา ฝ่ายนี้ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้งานหลากหลายมากมาย และยังได้รู้จักผู้คนมากมาย ทำให้ดิฉันได้รู้จักการทำงานในระบบงานมีขั้นตอนอย่างไร กว่าที่จะมีการอนุมัติเงินไปจ่ายประชาชนแต่ระทีนั้นมีขั้นตอนอย่างไร และถ้าประชาชนรายใดมีปัญหาต้องทำอย่างไร การฟ้องศาลต้องทำอย่างไร การเจรจากับบุคคลที่มารับเงิน หรือที่เรียกว่าจ่ายส่วนกลางนั้น และมีความรู้เรื่องการทำหนังสือ และส่งขออนุมัติต่าง ๆ

สิ่งที่ได้รับโดยตรงจากการปฏิบัติงานที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยนั้น คือ

  1. ได้เรียนรู้จักการวางตัวให้เข้ากับสถานที่ และนิสัยของผู้ปฏิบัติงานว่าเป็นอย่างไร
  2. ได้รู้จักการรับผิดชอบต่องานที่ได้รับ และทำให้คอบรอบต่องานมากยิ่งขึ้น
  3. ได้เรียนรู้ว่าฝ่ายการเงิน มีขั้นตอนการจ่ายเงินอย่าง เพราะไม่เคยมีการจ่ายเงินสด แต่ถ้าประชาชนรายใดได้รับน้อยกว่า 3,000 บาท นี้นต้องจ่ายเงินสด ส่วยใหญ่แล้วจะจ่ายเป็นเช็ค
  4. ได้เรียนรู้การขอเลขหนังสือ การพิมพ์หนังสือถึงหน่วยงานต่าง ๆ 
  5. ได้เรียนรู้ถึงประสบการณ์ชีวิตเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก เพราะเป็นสิ่งที่หาไม่ได้ในห้องเรียน 

24 กุมภาพันธ์, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 18 (28/02/2554)

- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องขอถอนเงินค่าทดแทน ธนาคารออมสิน สาขาตาก จำนวน 2 ชุด 8 แผ่น
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องการวางเงินค่าทดแทน ธนาคารออมสิน สาขาหนองบัวลำภู จำนวน 4 แผ่น
- ทำการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ จำนวน 2-3 แผ่น
- ทำการลงเรื่อง ๆ จำนวน 3-4 เรื่อง
- ทำการออกเช็คทำนวน 7 ใบ
- ทำการบันทึกบัญชี จำนวน 7 ใบ
- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 5 เลข เรื่องขอให้อกดร๊าฟท์ ,ขอถอนเงินค่าทดแทน ,การวางเงินค่าทดแทน
ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาลงเรื่องมักอ่านลายมือพี่ที่ฝึกงานไม่ออก
  2. เวลาพิมพ์หนังสือ การวางเงินค่าทดแทน ต้องมีการคำนวณภาษี จะยากในการคำนวณ
  3. เวลาบันทึกบัญชีจะต้องเข้าระบบ SAP นั้นยากต่อการใช้งาน
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องถามเจ้าของเรื่อง ว่าอ่านว่าอะไร หรือเขียนว่าอะไร
  2. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานคำนวณให้ หรือต้องคำนวณเอง
  3. ต้องมีการเปิดเอกสาร หรือหนังสือประกอบการทำรายการ

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 17 (21-25/02/2554)

- ทำการคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายที่ต้องไปจ่ายตามแปลง หรือใบสำคัญ จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอเปลี่ยนแปลงผู้มีอำนาจลงนาม จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ของถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง คำร้องขอเปลี่ยนแปลงผู้เบิกจ่าย จำนวน 2 ชุด
- ทำการเขียนเอกสารเงินยืมทดรอง จำนวน 2 ใบ
- ทำการเขียนหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จำนวน จำนวน 45 รายการ

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาคำนวณภาษีที่แปงสำรวจ มีรายชื่อผู้ถือครอง 2 ขึ้นไปต้องนำเอาจำนวน ทั้งหมดมาหาร เท่ากับจำนวนคน จะยากในการคำนวณ
  2. เวลาพิมพ์หนังสือ เรื่องคำร้องขอเปลี่ยนแปลงผุ้มีอำนาจเบิกจ่าย จะยากในการหาเอกสาร
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานสอนว่าต้องคำนวณแบบใด
  2. ต้องไปขอเอกสารมาถ่ายสำเนาเพื่อใช้เป็นหลักฐาน

17 กุมภาพันธ์, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 16 (14-17/02/2554)

- ทำการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ จำนวน 8 หน้า
- ทำการเขียนเอกสารเงินยืม จำนวน 1 ใบ
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอถอนออมสิน จำนวน 4 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง วางเงินค่าทดแทน จำนวน 4 ชุด
- ทำการขอเลขหนังสือ จากแผนกสารบรรณ จำนวน 2 เลข
- ทำการค้าหาใบสำคัญจ่าย จำนวน 3 รายการ
- ทำการคำนวณดอกเบี้ยออมสิน จำนวน 34 รายการ

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาค้นหาเอกสารบางรายการไม่มีในแฟ้ม
  2. เวลาเขียนเอกสารเงินยืมจะคำนวนดอกเบี้ยที่ต้องรวมกับเงินต้นไม่ถูก
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องค้นหาในระบบ SAP ว่าข้อมูลดังกล่าวอยู่ที่ใด
  2. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานสอนว่าต้องคำนวณแบบใด

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 15 (7-11/02/2554)

- ทำกาลงเลขหนังสือ จำนวน 5 เลข
- ทำการขอเลขหนังสือ 6 เลข
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 8 ชุด
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอให้ออกดร๊าฟ จำนวน 8 ชุด
- ทำการพิมพ์งานต่าง ๆ ประมาณ 4-5 หน้า
- ทำการพิมพ์เอกสารล้างเงินยืม จำนวน 2 ใบ
- ทำการบันทึกบัญชี (F-53) ในระบบ SAP
- ทำการลงทะเบียนเช็ค (FCH5) ในระบบ SAP

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาทำการบันทึกบัญชี (F-53) ยังมีความสับสนอยู่
  2. เวลาทำการขอเลขหนังสือจากแผนกสารบรรณ เจ้าหน้าที่เสียงดัง บางครั้งไม่สารารถสนทนาต่อได้
 วิธีการแก้ไขปัญหา 
  1. ต้องทำการเปิดเอกสารประกอบกับการทำงาน
  2. หัวหน้าที่แผนกสารบรรณต้องบออกให้ลดเสียงลงบาง

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 14 (31-4/2/2554)

- ทำการออกเลขหนังสือ จำนวน 4 เลข
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องการถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 8 ชุด
- ทำการเขียนเอกสานเงินยืม จำนวน 1 ใบ
- ทำการคำนวณดอกเบี้ยออมสิน จำนวน 40 รายการ
- ทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 2 ใบ
- ทำการเก็บข้อมูล ภงด.53 จากแฟ้มตั้งแต่ มกราคม 2553 -ธันวาคม 25553



ปัญหาและอุปสรรค
  1.  เวลาเก็บข้อมูล จากยากในการหาข้อมูล เพราะบางรายการ ไม่ได้เก็บเข้าแฟ้ม
  2.  เวลาคำนวณดอกเบี้ย ตัวเลขมากๆๆ ยังมีความสับสนอยู่บาง 
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1.  ต้องเรียกดูในระบบ SAP 
  2.  คำนวณเองก่อน และจึงให้พีที่ฝึกงานคำนวณดุว่าตรงกันหรึอไม




31 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 13 (24-28/1/2554)

- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 7 เลข
- ทำการพิมพ์เอกสาร และหนังสือต่างๆ ประมาณ 26 หน้า
- ทำการศึกษาระบบ SAP เพิ่มเติ่ม
- ทำการลงเลขที่หนังสือ ประมาณ 27 เลข
- ทำการปรับสมุดเงินฝาก จำนวน 1 เล่ม


ปัญหาและอุปสรรค
  1. มีคาวมสับสนในการเรียงเอกสารที่จะส่งให้ฝ่ายเซ็น
  2. ยังมีความไม่เข้าใจในระบบ SAP มากเท่าที่ควร
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องให้ฝึกงานสอน และมีการจดบันทึก
  2. ต้องศึกษาจากคู่มือ หรือจากพี่ที่ฝึกงาน

24 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงานสัปดาห์ที่ 12 (17-21/1/2554)

- ทำการแก้ไขเอกสาร เรื่อง การออกดร๊าฟท์ จำนวน 4 ชุด
- ทำการแก้ไขเอกสาร เรื่อง ขอเปิดบัญชี จำนวน 4 ชุด
- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 2 เลข
- ทำการเข้าระบบ SAP เพื่อลงทะเบียนเช็ค จำนวน 5 ใบ
- เข้าระบบ SAP เพื่อทำลงทะเบียนและทำใบรับรองภาษี จำนวน 5 ใบ
- ทำการเข้าระบบเช็ค เพื่อทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 5 ใบ


ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาที่เข้าระบบ SAP ช้ามาก
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องเรียกฝ่ายระบบมาดูว่าเป็นเพราะอะไร

10 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 11(10-14/01/2554)

- ทำการตรวจเช็คใบสรุปการจ่ายเงิน (Payment Slip) จำนวน 3 เดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคา ถึง เดือน ธันวาคม 2553 ประมาณ 1458 รายการ
- ทำการเช็คดอกเบี้ยสมุดเงินฝากของธนาคารออมสิน จำนวน 2 ชุด ชุดละ 203 รายการ
- ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 3 เลข
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องการถอนปิดบัญชีจำนวน 2 สาขา จำนวน 4 หน้า
- ทำการออกเช็ค จำนวน 2 ใบ
- ทำการตรวจเช็คสมุดเงินฝากของธนาคารออมสิน ว่าตรงกับในระบบ SAP หรือเปล่า
-ทำการพิมพ์เอกสารเพิ่มเติ่ม และแก้ไชเอกสาร จำนวน 6-7 หน้า
 
ปัญหาและอุปสรรค
  1. มีการสับสนในการแยกสรุปการจ่ายเงิน (Payment Slip)
  2. เวลาเช็คดอกเบี้ยกับสมุดเงินฝากบางรายการดอกเบี้ยไม่เท่ากัน
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการแยกรายละเอี่ยดให้ดี
  2. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานช่วยดู

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 10(4-7/01/2554)

- ได้ทำการค้นหาใบภาษี จำนวน 3 ชุด
- ทำการเช็คสมุดเงินฝากออมสิน กับทีปรี้นออกมาจาก SAP จำนวน 70 เล่ม
- ได้ทำการส่งสำเนาเอกสาร จำนวน 38 ชุด
- ทำการตรวจสอบ (Payment Slip) 5 มัดใหญ่
- ทำการเช็คดอกเบี้ยออมสิน จำนวน 203 เล่ม

ปัญหาและอุปสรรค์

  1. เวลาคำนวณดอกเบี้ยจะไม่ตรงกันกับที่พี่ที่ฝึกงานคำนวณ
  2. ในสมุดออมสินบางเล่มไม่มี Vendor มาด้วย
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการคำนวณหลาย ๆ รอบ พร้อมกับจดวิธีการคำนวณที่ง่ายต่อการเข้าใจ
  2. ต้องมีการค้นหา Vendor ในระบบ SAP

04 มกราคม, 2554

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 9 (27-30/12/2553)

- ได้ทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 1 เลข เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ปรับสมุดเงินฝาก
- และยังได้ส่งสำเนาเอกสาร จำนวน 6-7 ชุด พร้อมกับการเก็บเข้าแฟ้ม จำนวน 2 ชุด
- ยังได้ทำการทำกับข้าวเพื่อที่จะกินเลี้ยงในวันที่ 29/12/2553 พร้อมกับการเก็บอุปกรณ์ต่างๆเข้าที่

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาขอเลขหนังสือเจ้าหน้าที่มักไม่คอยได้ยินเสียง
  2. เวลาทำการกินเลี้ยงยังไม่เปนระบบระเบียบ มากนัก
วิธีแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการพูดซ้ำ ๆ หลานรอบ
  2. ต้องมีการเข้าแถวในการรับอาหาร

24 ธันวาคม, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 8 (20-24/12/2553)

- ได้ทำการตรวจเช็คสมุดเงินฝากของธนาคารออมสิน ประมาณ 1220 กว่าเล่ม
- ได้ทำการสำเนาเอกสาร ประมาณ 5-6 ชุด และทำการตกแต่งห้อง
- ทำการแข็งกีฬาสีภายใน

ปัญหาและอุปสรรค

  1. เวลาตรวจเช็คสมุดเงินฝากจะปวดตาในการมอง
  2. การแข่งกีฬาอากาศร้อนมาก
วิธีแก้ไขปัญหา
  1. ต้องมีการพักสายตาเป็นบางครั้งคราว
  2. ต้องมีการนำร่มมาด้วย

18 ธันวาคม, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 7 (13-17/12/2553)

- ได้ทำขอเลขหนังสือ จำนวน 2 เลข เรื่อง การวางเงินค่าทดแทน สาขาอุดรธาธี 2 และเรื่องการถอนเงินค่าทดแทน สาขาบางปะกง และทำการลงทะเบียนเช็คพร้อมทำการพิมพ์ใบเสร็จรับเงินจากโปแกรม SAP และทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 1 ชุด
- ได้ทำการเรียงเอกสาร เรื่อง การวางเงินค่าทดแทน จำนวน 1 ชุด และทำการคีข้อมูลประมาณ 10-20 ชุด
- ได้ทำการพิมพ์รายชื่อของธนาคารออมสินพร้อมสาขาต่าง ๆ จำนวน 28 สาขา เพื่อที่จะได้นำเอาปฎิทินและไดอารีไปให้ในวันและเวลาที่ไปปรับสมุดเงินฝากของแต่ลัสาขา และทำการเรียงแบบฟอร์มใบสั่งจ่ายภาษี ประมาณ 30-35 ชุด
- ได้ทำการตรวจเช็คใบสั่งจ่ายว่าตรงกับเลขที่ลงในระบบหรือเปล่า ประมาณ 6-7 มัดใหญ่ และยังไดทำการตรวนับสมุดเงินฝากของธนาคารออมสิน ประมาณ 1200 กว่าเล่ม พร้อมทำการพิมพ์เอกสารประมาณ 1-2 หน้า

ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาลงทะเบียนเช็คและใบเสร็จรับเงินจากระบบมักไม่รู้เรื่อง และเรียงลำดับขั้นตอนไม่ถูก
  2. เวลาคีข้อมูลลงในระบบมีบางขั้นตอนที่ไม่เข้าใจ
  3. เวลาตรวจเช็คใบสั่งจ่ายมักเกินปัญาในระบบ เช่น ระบบล่าช้า หรือ หลุดออกจากระบบ
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องให้พี่ทำฝึกงานบอกในบางขั้นตอนและเปิดหนังสือ หรือคู่มือการใช้ระบบ SAP
  2. ต้องมีการศึกษาขั้นตอนในการทำงานแต่ละระบบให้มาก
  3. ต้องให้ฝ่าย TI มาดูว่าเป็นเพราะอะไร

13 ธันวาคม, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 6 (7-9/12/2553)

- ได้ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่อง ขอให้ออกดร๊าฟท์ จำนวน 1 ชุด และทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 1เลข พร้อมทำการเขียนซองจดหมาย จำนวน 45 ซอง และยังทำการส่งแฟ็ก จำนวน 2 แผ่น ไปยังธนาคารกรุงไทย สาขานนทบุรี และยังพิมพ์หนังสือ เรื่อง การถอนเงินค่าทดแทนของธนาคารออมสิน จำนวน 3 สาขา อย่างละ 1ชุด
- ได้ทำการเขียนหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จำนวน 11 แผ่น พร้อมทำการส่งแฟ็ก จำนวน 7 แผ่น ไปยังธนาคารออมสิน สาขานนทบุรี
- ทำการส่งสำเนาเอกสารประมาร 7-8 ชุด และทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 4 เลข เรื่อง การถอนเงินค่าทดแทน ธนาคารออมสิน สาขาดำเนินสะดวก สาขาโพธราม สาขาราชบุรี และพิมพ์เอกสาร เรื่อง วางเงินค่าทดแทนจำนวน 1 ชุด
ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาส่งแฟ็กยังส่งไม่เป็นเท่าที่ควร
  2. เวลาทำการเขียนหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายข้อมูลบางข้อมูลไม่ครบ
  3. เวลาทำเรื่องถอนออมสินมักเรียงเอกสานไม่ได้
วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานสอนในการส่งแฟ็ก
  2. ต้องเว้นข้อมูลที่ไม่ครบไว้เพื่อที่จะต้องกรอกเวลาที่เราปจ่ายเงิน
  3. ต้องให้พี่ที่ฝึกงานสอนหรือบอกเวลาเรียงเอกสาร

03 ธันวาคม, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 5 (29-3/12/2553)

- ทำการปรับสมุดเงินฝากของ กฟผ. จำนวน 1 เล่ม พร้อมทำการเขียนเอกสารเงินยืม จำนวน 3 แผ่นและยังทำการสำเนาเอกสารจำนวน 10 ชุด และทำการพิมพ์เอกสารจำนวน 4 หน้า และยังทำการขอเลขหนังสือ จำนวน 1 เลข เรื่อง การถอนเงินค่าทดแทน
- ได้ทำการนำสังหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย จำนวน 1 ฉบับ และพิม์หนังสือจากระบบ SAP จำนวน 3 ชุด พิมพ์หนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย จำนวน 1 หน้า ตอนบ่าย ทำการประชุม เรื่องต่าง ๆ ประมาณ 5-6 เรื่อง บันทึกถ้อนคำ เรื่องการหักภาษี เรื่องการเปิดบัญชี เรื่องการทำธง เป็นต้น
- ได้ทำการเรียงหนังสือรับรองหักภาษี ณ ที่จ่าย จำนวน 13 เล่ม พร้อมมัดให้เรียนร้อย และทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 1 ฉบับ และทำการเขีนรเอกสารเงินยืม จำนวน 1 ชุดพร้อมคำนวณดอกเบี้ย และเงินที่ต้อมยืมว่าต้องยืมทั่งหมดเท่าไร
- ทำรายงานค่าตอบแทนทรัยสิน จำนวน 1 ชุด และส่ง Fax จำนวน 1 ชุด ทำรายงานปรับปรุงดอกเบี้ย จำนวน 1 ชุด เขีนรเอกสารเงินยืมทดรองค่าทดแทนทรัพย์สิน จำนวน 2 ชุด พร้อมทำการขอเงขหนังสือจำนวน 3 เลข

ปัญหาและอุปสรรค
  1.   เวลาให่ระบบ SAP ยังไม่เข่สใจในบางขั้นตอนของระบบ SAP
  2.   เวลาเข้าประชุมยังไม่เข้าใจในบางเรื่องมากนัก

วิธีแก้ไขปัญหา 

  1. ต้องมีการศึกษาจากคู่มือ และให้พี่ที่ฝึกงายสอนในบางเรื่อง
  2. ต้องมีการจดบันทึกเพื่อทำความเข้าใจในเรื่องนั้นๆ

29 พฤศจิกายน, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 4 (22-26/11/2553)

- ได้ทำการสำเนาหนังสือ จำนวน 8 ชุด และได้พิทพ์เลขที่ภาษี เพื่อจัดเป็นกลุ่มจำนวน A-R กลุ่ม จำนวนเล่มประมาณ 100 กว่าเล่ม แล้งพิมพ์แฟ้ม จำนวน 10-20 ชื่อ
- ได้ทำการศึกษาวิธีการแก้ไขเอกสารที่ Capy มาจาก Internet แล้วเป็นตาราง มาทำให้ไม่เป็นตารางและยังได้ทำการส่งหนังสือภาษี จำนวน 30 ชุด ที่หน่วยงานภาษี
- ได้ทำการส่งหนังสือที่ขอเลขหนังสือไว้ จำนวน 2 เลข 3 ชุด ยังได้เขียนใบถอนเงิน จำนวน 2 ใบและได้นำส่ง ภษ.7 ประมาณ 2-2 ชุด
- ได้ทำการขอเลขหนังสือจำนวน 2 เลข เรื่องการถอนเงินค่าทดแทน แล ขอเปลี้ยนแปลงชื่อบัยชี พร้อมทำการดำเนินการเอง และยังได้พิมพ์เช็ค จำนวน 1 ใบ พร้อมสาง ภาษี จำนวน 2 ชุด จำนวน 44 หน้า
- ได้ทำการปรับสมุดเงินฝากของ กฟผ. จำนวน 1 เล่ม และยังได้พิมพ์หนังสือ ทร 200 และยังได้พิมพ์รายชื่อ ที่จะไห้ของขวัญปี่ใหมา 10-15 สาขา และยังได้พิมพ์ใบเสร็จรับเงิน(บร31) จากระบบ SAP จำนวน 1 ฉบับ และพิมพ์ใบสรุปการจ่ายเงิน (จน.300) จำนวน 4 ใบจากระบบ SAP

ปัญหาและอุปสรรค 


  1. ยังไม่เข้าใจระบบ SAp มากเท่าที่ควร
  2. ยังไม่เข้าใจเอกสารบางเรื่องมากเท่าที่ควร
  3. เลขที่ภาษีบางเลขไม่เรียง ทำให้ใช้เวลาในการหามากเกินไป 

วิธีการแก้ไขปัญหา


  1. ทำการพิมพ์รายชื่อ A-R เพื่อการค้นหาที่ง่ายขึ้น
  2. ให้พี่ทำฝึกงานสอนในการเข้าใช้ระบบ SAP
  3. ศึกษารายอะเอียดของเอกสารมากกว่านี้


22 พฤศจิกายน, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่ 3 (15-19/11/2553)

- ทำการส่งหนังสือ การหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่ห้อง 434 จำนวน 2 ชุด และทำการขอเลขหนังสือ จากแผนกสารบรรณ จำนวน 1 เลข และทำการเขียนหนังสือ รับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย กฟผ.-ภษ.7 จำนวน 3 เล่ม
- ทำการแก้ไขรายละเอียดในหนังสือ รับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่ทำไม่ครบ จำนวน 2 ชุด แล้วทำการพิมพ์ใบส่งเอกสาร เรื่อง รับรอบภาษี หัก ณ ที่จ่าย(ภษ.7) ฉบับที่ 3 (สีชมพู) จำนวน 63 ฉบับ เป็นเงิน 22,110,88 1.05 บาท และยังได้ขอเลขหนังสือจำนวน 1 เลข เรื่อง การอกดร๊าฟท์ และทำการแก้ไขรายละเอียด หนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ทีจ่าย จำนวน 2 แผ่น
- ได้ทำการปรับสมุดเงินฝากธนาคารกรุงไทยของ กฟผ. จำนวน 1 เล่ม พร้อมทำการเขียน หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย จำนวน 2 ชุด และทำการแยกใบสำคัญจากต้นฉบับะมาณ 10-15 แผ่น และทำการตรวจเช็ค ว่ามีในซองจดหมายมีเช็คอยู่หรือเปล่า จำนวน 50 ซอง และยังได้ทำการพิมพ์เช็ค จำนวน 1ใบ
- ได้ทำการตรวจสอบจำนวนเงินกับเลขDoc ว่าตรงกันหรือเปล่า จำนวน 1 ชุด 259 รายชื่่อ
- ทำการพิมพ์หนังสือ เรื่องขอใหเออกดร๊าฟท์ จำนวน 1 ชุด


ปัญหาและอุปสรรค

  1. เช็คที่พิมพ์ ไม่ตรงบรรทัดและไม่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้
  2. เขียนรายละเอียด ชื่อ ที่อยู่ จำนวนเงินผิดในหนังสือ รับรองภาษี หัก ณ ที่จ่าย
  3. เวลาคำนวนณภาษี และ จำนวนเงินจะ งง และคำนวณผิดบ่อย
  4. ในการตรวจสอบตัวเลขกับจำนวนตัวเลขDocเล็กเกินไป 


วิธีการแก้ไขปัญหา

  1. เวลาเขียนรายละเอียดผิดมก ๆ ก็ทำการยกเลิกภาษีเลขที่นั้นไป
  2. เวลาคำนวณต้องมีการพิมพ์ออกมาด้วย
  3. พิมพ์รายชื่อใหม่พร้อมทำการ Sum ออกมาด้วย
  4. ต้องมีการนำเอาไมบรรทัดมาคัน เพื่อดูแล้วจะได้ไม่ งง

14 พฤศจิกายน, 2553

สรุปการฝึกงาน สัปดาห์ที่2 (8-12/11/53)

- ได้ไปทำการส่ง FAX จำนวน 1 ชุด 6 หน้า ของอำเภอ ท่าตะโก และยังได้ไปส่งสำนวนเอกสารจำนวน 5 ชุด ของอำเภอท่าตะโก เรื่อง ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีจ่ายเงินค่าทกแทน และยังได้ทำการประทับตรา ค่าทดแทนทรัพย์สิน ลงในหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย กฟผ.-ภษ.7 จำนวน 10 เล่ม พร้อมทำการส่งหนังสือที่หน่วยงานภาษี เป็นหนังสือรับรองการหักภาษี ที่ห้อง 233 จำนวน 2 ชุด
- ทำการปรับสมุดเงินฝากของ กฟผ. ธนาคารกรุงไทย จำนวน 1 เล่ม ละงยังได้ไปส่งหนังสือ เรื่อง ปรับปรุงดอกเบี้ย 6 เดือน 1 ชุด,ปรับปรุงดอกเบี้ยปิดบัญชี จำนวน 3 ชุด,ถอนปิดบัญชี จำนวน 3 ชุด และยังได้ทำการพิมพ์ชื่อสันแฟ้ม จำนวน 26 ชื่อ พร้อมปรี้นออกมาและทำการตัดและติดที่แฟ้ม จำนวน 54 แผ่น จำนวนสันแฟ้ม และขอเลขหนังสือจากแผนกสารบรรณ จำนวน 1 เลข
- ได้ทำการแก้ไขขนาดของเช็คที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในโปรแกรมพิมพ์เช็คของธนาคารกรุงไทย ผ่านทาง WEB จำนวน 2 เช็ค
1. พิมพ์เช็คมีวันที่ระบุ VCK
2. พิมพ์เช็คมีวันไม่ที่ระบุ VCK
และยังได้ส่งสำเนาเอกสาร จำนว 50 ชุด พร้อมทั้งส่งหนังสือที่หน่วยงาน ตรวจจ่ายค่าทดแทนทรัพย์(หตทส-บ)และยังได้ทำการพิมพ์เอกสาร เรื่องออกดร๊าฟของธนาคารกรุงไทย สาขานนทบุรี จำนวน 3 แผ่น 51 ชื่อ พร้อมทำการแก้ไข ในบางหัวข้อที่ผิดและยังได้คำนวนจำนวนเงินทั้งสิ้น 51 รายการ ซึ่งเป็นจำนวนเงิน 3,784,788.49 บาท
- ได้ออกเลขหนังสือ เรื่อง การถอนเงินค่าทดแทนทรัพย์ จำนวน 1 เลข พร้อมส่งหนังสือบันทึกที่หน่วยงานตรวจจ่ายค่าทดแทนทรัพย์ ที่ห้อง 434 และยังได่ทำการตรวจสอบจำนวนเงินกับจำนวนเงินในเช็คว่าตรงกันหรือเปล่า จำนวน 7 เช็ค และได้ทำหนังสือ บันทึกหนังสือของการไฟฟ้า เรื่อง ขอให้ออกแคชเชียร์เช็ค สั่งจ่ายศาลจังหวัดนนทบุรี พร้อมทำการออกแคขเชียร์เช็ค จำนวน 1 ชุด
- ได้ทำการ Update Passbook จำนวน 1 เล่ม พร้อมทำการส่งสำนวนเอกสารประมาณ 61 แผ่น และทำการเขียน ในถอนเงินของธนาคารออมสิน จำนวน 2 ใบ พร้อมได้พิมพ์หนังสือ เรื่องการถอนเงินค่าทดแทน จำนวน 1 ชุด


ปัญหาและอุปสรรค
  1. เวลาเราปรี้นเอกสารออกมาข้อมูลบางอย่างไม่ครบ
  2. หัวกระดาษและท้ายกระดาษไม่ตรงกัน
  3. เรื่องการออกดร๊าฟยังไม่เข้าใจเท่าที่ควร
  4. ไม่สามารถกำหนดขนาดของเช็คได้
  5. ในการคำนวณจะคำนวณผิด

วิธีการแก้ไขปัญหา
  1. เวลาคำนวณต้องมีการปรี้นออกมาเพื่อที่เราจะต้องมีการตรวจสอบว่าตรงกันหรือเปล่า
  2. ครื่องคอมพิวเตอร์ที่พิมพ์เช็คแล้วทำการแก้ไขขนาดไม่ได้ให้พี่ที่ทำงานมาดูว่าเป็นเพราะอะไร
  3. ได้ทำการแก้ไขเอกสารในหัวข้อการถอนแคชเชียร์เช็ค

07 พฤศจิกายน, 2553

สรุปการฝึกงานสัปดาห์ที่ 1 (1-5/11/2553)

- มารายงานตัวที่ กฟผ. เวลา 08.00น. รอพี่ที่ดูแลมารับตัวไปที่ฝ่าย การเงิน พอไปถึงที่ฝ่ายการเงินได้รายงานตัวกับหัวหน้า ชื่อพี่โกวิท พิพัฒน์บรรณกิจ และพี่ชัยสันต์ ได้สอนในการเขียนเอกสารรายละเอี่ยดเพื่อที่จะนำไปสำเนาเอกสารและสอนการเช็ครายละเอียดในการรับหรึอการจ่ายเงินเดือนและยังได้รับงานให้ลงโปรแกรมเครื่องปรี้นลา 12.00น.-13.00น. พักรับประทานอาหาร หัวหน้าได้เลี่ยงตอนรับพร้อมเลี่ยงส่งรุ่นน้อยที่มาฝึกงานก่อน เริ่มงานในตอนบ่ายเวลา 13.30น. ได้เขียนใบสำเนาเอกสารจำนวน 3 แผ่น รวมทั้งหมดจำนวนประมาณ 15-20 แผ่นได้ และยังได้ฝึกการขอเลขหนังสืออีกด้วย
- ได้ทำความเข้าใจกับ สมุดส่งหน่วยงานภาษี หนังสือรับรองการหักภาษี หน่วยงานตรวจจ่ายค่าทดแทนทรัพย์สิน หน่วยงานตรวจจ่าย(หตกพ-บ) หน่วยงายตรวจจ่าย(หตท-บ) เบี้ยเลี่ยงเดินทาง พร้อมกับเดินหนังสือตามห้องต่างๆที่กล่าวมาข้างต้น เพื่อที่ทำให้เรารู้จักเวลาที่เราไปส่งหนังสือ ทำสำเนาถ่ายเอกสารแล้วนำไปส่งสำเนาเอกสารที่ห้องสำเนาเอกสาร
- พี่เจษฎาได้ให้ขอเลขหนังสือจากแผนกสารบรรณประมาณ 3-5- เลข พร้อมกรอกแบบฟอร์มการส่งขอเลขหนังสือจากฝ่าย อกง. แล้วนำส่งที่ห้อง 216 เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
- พี่เจษฎา ได้ แนะนำบุคคลในหน่วยงานรู้จัก
  1. นายโกวิท พิพัฒน์บรรณกิจ (หัวหน้าแผนกการเงินค่าทดแทนทรัพย์สิน (หงทสพ-บ))
  2. นายมีชัย วุฒิเขตต์ (วิทยากร ระดับ8)
  3. นายเสกสรรค์ เอี่ยมสำอางค์ (หัวหน้าหมวดการเงินโครงการ TS10)
  4. นายชวลิต เทียนพันธุมาศ (วิทยากร ระดับ7)
  5. นายเจษฎา อรวีระนนท์ (พนักงานวิชาชีพ ระดับ6)
  6. นายชัยสัน ฉัตรวงศ์พันธ์ (นักบัญชี ระดับ7)
  7. นายจักร สุทธิพงศ์ (พนักงานวิชาชีพ ระดับ7

 ปัญหาและอุปสรรค
  1. ในการลงโปรแกรมเครื่องปริ้นมีปัญหาที่ว่าไม่สามารถลงได้เพราะตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่รับรองในการลงว่าจะสมบูรณ์หรึอไม่
  2. งานบางอย่างยังไม่เข้าใจเท่าที่ควร
  3. ยังไม่ทราบเรื่องหมวดหมู่ของเอกสารเรื่องเงินค่าทดแทน
  4. ลายมือของคนในหน่วยงานอ่านยากทำให้เขียนเอกสารผิด

วิธีการแก้ไขปัญหา
  1.  เรียกฝ่าน IT มาดูว่าทำไหมเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่รับรองเครื่องปรี้นตัวที่จะพิมพ์เช็ค 
  2.  ต้องศึกษางานต่าง ๆ เพื่อทำควาามเข้วใจ
  3. ต้องมีการจดหมวดหมู่เอกสารว่าหมวดใดอยู่ที่ไหน
  4. ต้องมีการถามเพื่อความมั่นใจ

14 ตุลาคม, 2552

ลูกแรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ


สรุปสิ่งที่ได้จากการเรียน การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 3

จากทีได้เรียนเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ3 เเล้วดิฉันคิดว่าได้ประสบการณ์ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและยังทำให้มีความสามัคคีกันมากขึ้นในการทำงานเป็นกลุ่มเเละยังได้รับความรู้เกี่ยวกับบริหารในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ในเรื่องของการประกันคุณภาพของนักศึกษา จริยธรรม คุณธรรม การพัฒนาบุคลิกภาพ การเงินส่วนบุคคล BussinessIntelligence ธุรกิจข้ามชาติ และเรื่องเส้นทางสู้ความสำเร็จในการทำงานและการใช้ชีวิตอย่างเป็นระบบระเบียบ นอกจากนี้ในการเรียนครั้งนี้ทำให้ดิฉันได้รู้ถึงความอดทน การมีระเบียบวินัย การเป็นคนตรงต่อเวลา แล้วยังสามารถทำให้ดิฉันนำไปใช้ในการทำงานในอนาคตได้อย่างราบรื่น
ขอบคุณค่ะ

DTS 11-14/10/2009

ทบทวนบทเรียน ครั้งที่ 9เรื่อง Graph(ต่อจากครั้งที่เเล้ว)เเละเรื่อง Sorting
Graph
การท่องไปในกราฟ
1.เเบบกว้าง โดยเลือกโหนดที่เป็นจุดเริ่มต้น เเละหาโหนดที่ใกล้สุดเยือนจนครบเหมือนคิว ที่ทีละระดับ เข้าก่อนออกก่อน
2.เเบบลึก คล้ายกับการท่องไปในทรี โดยมีโหนดเเรกถัดไปให้ลึกที่สุดก่อนเเล้วค่อยย้อนกลับมาตามเเนวเดิมไปโหนดต่อไปเหมือนกับสแตก
Sorting
Sorting คือการเรียงลำดับจัดเเบบเเผนเพื่อให้ค้นหาข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการเรียง มี2ประเภท
1.ภายใน ข้อมูลทั้งหมดต้องอยู๋ในความจำหลัก เท่านั้น และจะคำนึกถึงเวลาใช้ในการเปรียบเทียบเเละการเลี่อนข้อมูล
2.ภายนอก ข้อมูลจะเก็บในความจำสำรอง ใช้เวลาในการถ่ายเทข้อมูลมาก
การเรียงเเบบเลือก
ทำการเลือกข้อมูลมาเก็บในตำแหน่งที่ ข้อมูลนั้นควรจะอยู่ทีละตัวโดยทำการค้นหาข้อมูลนั้นในแต่ละรอบแบบเรียงลำดับมาการเเทนที่ โดยการเปรียบเทียบเเย้วย้ายที่สลับตำเเหน่งกันปกติ เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดเเต่มีข้อเสียในการจัดเรียงที่ค่อนข้างนานเหมือนการเปรียบเทียบถ้าจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่ากับ x การเปรียบเทียบก็เท่ากับ X-1 เลยทีเดียว
การเรียงเเบบฟอง
เป็นการเทียบข้อมูลในตำแหน่งที่ติดกันจะมีการเปรียบเทียบข้อมูลในเเถวลำดับ ช่องเเรก กับช่องถัดไป ถ้าช่องหลังมีข้อมูลใหญ่กว่า ก็จะสลับที่กับช่องเเรก เเละต่อไปก็เปรียบช่อง2 - 3 ถ้าช่อง3มากกว่าช่อง2ก็จะสลับที่ เท่ากับว่า เราจะสลับถ้าข้อมูลที่มากกว่าไว้ทางซ้ายมือ เเละเหรียบเทียบไปเรื่อยๆจนครบ และเเถวที่ได้ถูกเรียงไว้เเล้ว ก็จะถูกวางไว้ตำเเหน่งนั้นตลอด เเละเป็นคำตอบในที่สุด วิธีนี้เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันมาก

17 กันยายน, 2552

DTS 11-08/09/2009

ทบทวนบทเรียน ครั้งที่ 9
เรื่อง Graph(ต่อจากครั้งที่เเล้ว)เเละเรื่อง Sorting
Graph การท่องไปในกราฟ1.เเบบกว้าง โดยเลือกโหนดที่เป็นจุดเริ่มต้น เเละหาโหนดที่ใกล้สุดเยือนจนครบเหมือนคิว ที่ทีละระดับ เข้าก่อนออกก่อน2.เเบบลึก คล้ายกับการท่องไปในทรี โดยมีโหนดเเรกถัดไปให้ลึกที่สุดก่อนเเล้วค่อยย้อนกลับมาตามเเนวเดิมไปโหนดต่อไปเหมือนกับสแตก

Sorting

Sorting คือการเรียงลำดับจัดเเบบเเผนเพื่อให้ค้นหาข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิธีการเรียง มี2ประเภท

1.ภายใน ข้อมูลทั้งหมดต้องอยู๋ในความจำหลัก เท่านั้น และจะคำนึกถึงเวลาใช้ในการเปรียบเทียบเเละการเลี่อนข้อมูล

2.ภายนอก ข้อมูลจะเก็บในความจำสำรอง ใช้เวลาในการถ่ายเทข้อมูลมาก

การเรียงเเบบเลือกทำการเลือก

ข้อมูลมาเก็บในตำแหน่งที่ ข้อมูลนั้นควรจะอยู่ทีละตัวโดยทำการค้นหาข้อมูลนั้นในแต่ละรอบแบบเรียงลำดับมาการเเทนที่ โดยการเปรียบเทียบเเย้วย้ายที่สลับตำเเหน่งกันปกติ เป็นวิธีที่ง่ายที่สุดเเต่มีข้อเสียในการจัดเรียงที่ค่อนข้างนานเหมือนการเปรียบเทียบถ้าจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่ากับ x การเปรียบเทียบก็เท่ากับ X-1 เลยทีเดียว

การเรียงเเบบฟอง

เป็นการเทียบข้อมูลในตำแหน่งที่ติดกันจะมีการเปรียบเทียบข้อมูลในเเถวลำดับ ช่องเเรก กับช่องถัดไป ถ้าช่องหลังมีข้อมูลใหญ่กว่า ก็จะสลับที่กับช่องเเรก เเละต่อไปก็เปรียบช่อง2 - 3 ถ้าช่อง3มากกว่าช่อง2ก็จะสลับที่ เท่ากับว่า เราจะสลับถ้าข้อมูลที่มากกว่าไว้ทางซ้ายมือ เเละเหรียบเทียบไปเรื่อยๆจนครบ และเเถวที่ได้ถูกเรียงไว้เเล้ว ก็จะถูกวางไว้ตำเเหน่งนั้นตลอด เเละเป็นคำตอบในที่สุด วิธีนี้เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันมาก

DTS 10-01/09/2009

ทบทวนบทเรียนครั้งที่ 8
เรื่อง กราฟ
กราฟคือ โครงสร้างข้อมูลไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear Data Structure)
ความเเตกต่างกับโครงสร้างทรี คือ โดยทรีเป็นกราฟอะไซคลิกที่ไม่มีการวนลูป และการวนถอยกลับ เป็นกราฟเชื่อมกันที่มีเพียงเอจเดียวระหว่างสองโหนด กราฟเป็นโครงสร้างข้อมูลประเภทหนึ่งที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง vertex(โหนด) และ edge(เส้นเชื่อม) กราฟจะประกอบด้วยกลุ่มของ vertex ซึ่งแสดงในกราฟด้วยสัญลักษณ์รูปวงกลม และ กลุ่มของ edge (เส้นเชื่อมระหว่าง vertex) ใช้แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่าง vertex หากมี vertex ตั้งแต่ 2 vertex ขึ้นไปมีความสัมพันธ์กัน ใช้สัญลักษณ์เส้นตรงซึ่งอาจมีหัวลูกศร หรือไม่มีก็ได้
ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
1.เวอร์เทก (Vertex) หมายถึง โหนด
2.เอดจ (Edge) หมายถึง เส้นเชื่อมของโหนด
3.ดีกรี (Degree) หมายถึง จำนวนเส้นเข้าและออก ของโหนดแต่ละโหนด
4.แอดจาเซนท์โหนด (Adjacent Node) หมายถึง โหนดที่มีการเชื่อมโยงกันตัวอย่างของ
กราฟในชีวิตประจำวัน เช่น
1.กราฟของการเดินทางระหว่างเมือง ซึ่ง vertex คือ กลุ่มของเมืองต่างๆ และ edge คือ เส้นทางเดินระหว่างเมือง
2.ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) vertex ก็คือ กลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโหนดต่างๆ และ edge ก็คือ เส้นทางการติดต่อสื่อสารระหว่างโหนดต่างๆ เป็นต้น
การเเทนที่กราฟในหน่วยความจำ
1.เเบบอะเรย์ 2 มิติ คือ จะมีมิติที่1 เก็บค่าโหนดต่างๆ มิติที่2 จะเก็บโหนดที่เเสดงความสัมพันธ์กับโหนดที่1 จะค่อนข้างเปลี้องเนื้อที่เเละมีความซ้ำซ้อนกัน จึงไม่เป็นที่นิยม
2.มีการเก็บโดยใช้พอยเตอร์เเละโหนด เเต่ก็ยังเป็นอะเรย์ 2 มิติ อยู่และต้องจัดเก็บโหนดที่สัมพันธ์ด้วยในแถวลำดับ1 มิติ เเต่มีความยุ่งยากเเละซับซ้อน ไม่เหมาะกับกราฟที่มีการเปลี่ยนเเปลงตลอดเวลา
3.วิธีแอดจาเซนซีลิสต์(Adjacency List) ซึ่งเป็นวิธีที่คล้ายวิธีที่2 แต่ต่างกันตรงที่ จะใช้ลิงค์ลิสต์แทนเพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนแปลงแก้ไข

DTS 09-24/08/2009

ทบทวนบทเรียนครั้งที่ 7
เรื่อง ทรี(Tree)

ทรี เป็นโครงสร้างข้อมูลไม่เชิงเส้น โดยจะมีการเรียงข้อมูลลดหลั่งลงเป็นลำดับๆไปส่วนมากจะใช้ให้เห็นถึงความสำคัญข้อมูลว่าอันไหนสำคัญกว่าเเละอันไหนรองๆลงมา

ชื่อเรียกของโหนด

-จะมีการเีรียงข้อมูลโดยข้อมูลที่อยู่ในระดับสูงสุดจะเรียกว่า โหนดราก

-รองลงมาจะเป็นโหนดเเม่

-ข้อมูลที่ออกมาจากโหนดเเม่ คือ โหนดลูก

-โหนดที่มีเเม่เป็นโหนดเดียวกัน เรียกว่าโหนดพี่น้อง-โหนดที่ไม่มีลูกคือ โหนดใบ

-เส้นที่ลากเเสดงความสัมพันธ์คือ กิ่ง

นิยามของทรี

1.เป็นนิยามเเบบกราฟ-ทรีคือ กราฟที่จะไม่มีวงจรปิดจำนวนโหนดทั้งหมด เท่ากับZ กิ่งของโหนดก็จะเท่ากับ Z-1 เสมอ

2. นิยามทรีด้วยรูปแบบรีเคอร์ซีฟ-ทรีประกอบด้วยสมาชิกที่เรียกว่าโหนด ถ้าเป็นโหนดว่างคือนัลทรี เเละโหนดที่ออกมาจากโหนดราก คือ ทรีย่อย

นิยามที่เกี่ยวกับทรี

1. ฟอร์เรสต์ (Forest)คือ กลุ่มของทรีที่มีโหนดรากเเละย่อยๆออกมา

2. ทรีที่มีแบบแผน (Ordered Tree)คือ ทรีที่โหนดมีความสัมพันธ์ที่แน่นอนหรือมีเเบบเเผนนั้นเอง

3. ทรีคล้าย (Similar Tree) คือ ทรีที่มีโครงสร้างเหมือนเเต่ข้อมูลไม่เหมือนกัน

4. ทรีเหมือน (Equivalent Tree) คือ ทรีที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์ ทั้งข้อมูลทั้งโครงสร้าง

5. กำลัง (Degree) หมายถึงจำนวนทรีย่อยของโหนด

6. ระดับของโหนด (Level of Node) คือการเเบ่งระดับของทรีเป็นชั้นๆเช่นโหนดรากคือระดับ1 โหนดเเม่ระดับ 2 เป็นต้น

การเเทนที่ในหน่วยความจำมี 2 แบบ

1. โหนดแต่ละโหนดเก็บพอยเตอร์ชี้ไปยังโหนดลูกทุกโหนด การแทนที่ทรีด้วยวิธีนี้ จะให้จำนวนฟิลด์ในแต่ละโหนดเท่ากันโดยกำหนดให้มีขนาดเท่ากับจำนวนโหนดลูกของโหนดที่มีลูกมากที่สุด

2.เเบบไบนารีทรี คือเเต่ละโหนดจะมีลิงค์เเค่2ลิงค์เท่านั้นมีวิธีการท่องเข้าไปในทรี 6 วิธี คือ NLR LNR LRN NRL RNL และ RLNN คือ เยือนโหนดรากL คือ ท่องไปในทรีย่อยทางขวาแบบพรีออร์เดอร์R คือ ท่องไปในทรีย่อยทางซ้ายแบบพรีออร์เดอร์

DTS 08-11/08/2009

ทบทวนบทเรียน ครั้งที่ 6
เรื่อง คิว (Queue)

คิว เป็นโครงสร้างคล้ายกับ Stack เเต่ต่างตรงที่ว่าคิว เข้าก่อนออกก่อน เหมือนการเรียงคิวซื้อของ นั้นเองเเต่ถ้าเป็นสเเตกจะเป็นเข้าก่อนออกที่หลัง โดยคิวจะมีโครงสร้างงการเพิ่มข้อมูลจะกระทำที่ปลายข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่าส่วนท้ายหรือเรียร์ (rear) และการนำข้อมูลออกจะกระทำที่ปลายอีกข้างหนึ่งซึ่งเรียกว่า ส่วนหน้า หรือฟรอนต์(front)
การทำงานของคิวโดยพื้นฐาน
1.การใส่สมาชิกตัวใหม่ลงในคิวเรียกว่า Enqueue
2.การนำสมาชิกออกจากคิว เรียกว่าDequeue
3.การนำข้อมูลที่อยู่ตอนต้นของคิวมาแสดงจะเรียกว่า Queue Frontแต่จะไม่ทำการเอาข้อมูลออกจากคิว
4.การนำข้อมูลที่อยู่ตอนท้ายของคิวมาแสดงจะ เรียกว่าQueue Rear แต่จะไม่ทำการเพิ่มข้อมูลเข้าไปในคิว
ตัวดำเนินการเกี่ยวกับคิว มีลักษณะคล้ายของสแตกมาก ดังนี้
1. Create Queue คือการ สร้างคิว มีผลคือได้คิวว่าง
2. Enqueue คือการเพิ่มสมาชิกลงไป
3. Dequeue คือการนำสมาชิกออกมา
4. Queue Front คือการนำส่วนของฟรอนด์ ออกมาเเสดงโดยไม่เอาข้อมูลออกมา
5. Queue Rear คือการนำข้อมูลส่วนเรียร์มาเเสดงเเต่ไม่เอาเข้ามูลเข้ามา
6. Empty Queueคือการตรวจสอบว่าคิวว่างหรือไม่ ถ้าเราเห้นว่าคิวว่างเเล้วยังจะลบข้อมูลอีกก็จะเกิดข้อผิดพลาดที่เรียกว่า underflow
7. Full Queue คือการตรวจสอบว่าคิวเต็มหรือไม่ ถ้าตรวจสอบเเล้วคิวเต็มเเล้วเรายังจะเพิ่มข้อมูลเ้ข้าไป คิวจะเกิดข้อผิดพลาดที่เรียกว่าoverflow
8. Queue Count คือการนับจำนวนสมาชิกในคิว9. Destroy Queueคือการล้างคิวทั้งหมด เหมือนลบทิ้งไป โดยจะได้คิวว่างมาเป็นผลลัพย์

DTS 07-04/08/2009

ทบทวนบทเรียนครั้งที่ 5
เรื่อง Stack

Stack เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบลิเนียร์ลิสต์(เป็นลำดับ)ที่มีคุณสมบัติที่ว่า การเพิ่มหรือลบข้อมูลในสแตก จะกระทำที่ ปลายข้างเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า Top ของสแตก หรือส่วนบนสุดก็ได้ เเละการนำเข้านำออกจะเป็นลำดับความสำคัญจะอยู่ที่ ตัวเเรก(Top) ของสเเตก คุณสมบัตินี้คือLIFO(last In First Out)คือเข้าก่อนออกก่อน

การดำเนินงานของสเเตกมี3เเบบ(โดยพื้นฐาน)
1. การpush เป็นการใส่ข้อมูลลงสเเตกโดยถ้าสเเตกยังไม่เต็มก็ใส่ลงไปได้
2. การ pop เป็นการนำข้อมูลออกมาจากสเเตกโดยจะpopข้อมูลที่อยู่บนสุดเป็นเงื่อนไขที่ สำคัญมากแต่ถ้าไม่มีสมาชิกในสแตก แล้วทำการ pop สแตก จะทำให้ เกิดความผิดพลาดที่เรียกว่า Stack Underflow
3. Stack Top เป็นการคัดลอกข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก แต่ไม่ได้นำเอาข้อมูลนั้นออกจากสแตก.

การดำเนินการเกี่ยวกับสแตก ได้แก่
1. Create Stack -เป็นการดำเนินการสร้างสแตก
2. Push Stack -เป็นการใส่ข้อมูลลงสเเตกโดยถ้าสเเตกยังไม่เต็มก็ใส่ลงไปได้
3. Pop Stack -เป็นการนำข้อมูลออกมาจากสเเตกโดยจะpopข้อมูลที่อยู่บนสุดเป็นเงื่อนไขที่สำคัญมากแต่ถ้าไม่มีสมาชิกในสแตก แล้วทำการ pop สแตก จะทำให้ เกิดความผิดพลาดที่เรียกว่า Stack Underflow
4. Stack Top -เป็นการคัดลอกข้อมูลที่อยู่บนสุดของสแตก
5. Empty Stack -เป็นการตรวจสอบการว่างของสแตก เพื่อไม่ให้มีความผิดพลาดในการนำข้อมูลออกจาก สแตกที่เรียกว่า Stack Underflow
6. Full Stack -เป็นการตรวจสอบว่าสแตกเต็มหรือไม่จะได้ไม่ผิดพลาดที่เรียกว่าStack Overflow
7. Stack Count -การนับจำนวนสมาชิก(ข้อมูล)ในสเเตก
8. Destroy Stack -การลบข้อมูลทั้งหมดในสเเตกจนกลายเป็นสเเตกว่าง

รวมทั้งมีการคำนวณนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
--การคำนวณนี้จะเป็นการที่เราต้องเเปลงค่า Infix เป็น Postfixมีหลักการทำอยู่โดยเราต้องเปรียบเทียบตัวดำเนินการก่อนที่จะรับเข้าเป็นPostfixส่วนตัวถูกดำเนินการสามารถเข้าPostfix ได้ทันที
--การเเปลงกับจาก Postfix เป็น Infix เป็นการ
1. อ่านตัวอักษรในนิพจน์ Postfix จากซ้ายไปขวาทีละตัวอักษร
2. ถ้าเป็นตัวถูกดำเนินการให้ทำการpushตัวถูกดำเนินการนั้นลงในสแตกแล้วกลับไปอ่านอักษรตัวใหม่เข้ามา3. ถ้าเป็นตัวดำเนินการ ให้ทำการ pop ค่าจากสแตก 2 ค่าโดยตัวแรกเป็นตัวถูกดำเนินการตัวที่ 2 และตัวที่1
4. ทำการคำนวณ ตัวถูกดำเนินการตัวที่ 1ด้วยตัวถูก ดำเนินการตัวที่ 2 โดยใช้ตัวดำเนินการในข้อ 3
5. ทำการ push ผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณในข้อ 4 ลงสแตก
6. ถ้าตัวอักษรในนิพจน์ Postfix ยังอ่านไม่หมดให้กลับไปทำข้อ 1 ใหม่

DTS05-28/07/2009

เรื่อง Linked ListLinked List
เป็นการจัดเก็บชุดข้อมูลมีพอยเตอร์เป็นตัวเชื่อมโยงต่อเนื่องกันไปตามลำดับซึ่งในลิงค์ลิสต์จะประกอบไปด้วยข้อมูลที่เรียกว่า
โหนด (Node) ในหนึ่งโหนดจะประกอบด้วย1.ส่วนของข้อมูลที่ต้อง
การจัดเก็บ เรียกว่าส่วน (Data)2.ส่วนที่เป็นพอยน์เตอร์ที่ชี้ไปยังโหนด
ถัดไป (Link) หรือชี้ไปยังโหนดอื่นๆที่อยู่ในลิสต์**หากโหนดแรกไม่มีข้อมูลหรือไม่มีข้อมูลในโหนดที่อยู่ถัดไป
ส่วนที่เป็นพอยน์เตอร์หรือ Link จะเก็บค่า NULL เขียนแทนด้วย
เครื่องหมาย กากบาทโครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ประกอบด้วย 2 ส่วน1.Head Structure แบ่งเป็น 3ส่วน-count เป็นการนับจำนวนข้อมูลที่มีอยู่ในลิสต์นั้น-pos พอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดที่เข้าถึง-head พอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดแรกของลิสต์2.Data Node Structure จะประกอบด้วย ข้อมูลและพอยเตอร์
ที่ชี้ไปโหนดถัดไปการเพิ่มข้อมูลลงไปในลิงค์ลิสต์นั้น จากที่ Head Structure
ในส่วนของ count จะมีค่าเป็น 0 นั้นหมายถึงในลิสต์นั้นยังไม่มี
ข้อมูลใดเลย ส่วน head จะมีเครื่องหมายกากบาท นั้นหมายถึง
ในลิสต์นั้นไม่มีการเชื่อมโยงไปยังข้อมูลแรก แต่ถ้าต้องการเพิ่ม
ข้อมูลลงไปในลิสต์ Data Node ในส่วนของข้อมูล (Data)จะมี
ค่าเก็บอยู่ แล้ว count ก็จะเปลี่ยนค่าจาก 0 เป็น 1 คือ การบ่งบอก
ถึงจำนวนข้อมูลที่มีอยู่ในลิสต์นั้น แล้ว head ก็จะชี้ไปยัง
ข้อมูล (Data) ตัวแรกของลิสต์ ส่วนพอยเตอร์ที่ชี้ไปโหนดถัดไป
จะเป็นเครื่องหมายกากบาทแทน
การลบข้อมูลในลิงค์ลิสต์ ถ้าต้องการลบข้อมูลตัวใดในลิสต์
สามารถลบได้เลย แต่ต้องเปลี่ยน head เพื่อชี้ไปยังข้อมูลตัวแรก
ของลิสต์กรณีที่ลบข้อมูลตัวแรกออก แล้ว link คือ เมื่อลบข้อมูล
ตัวใดออกควรชี้ link ถัดไปให้ถูกต้องด้วย

03 สิงหาคม, 2552

การบ้าน

#include <iostream.h>
void Centsyard (int);
int main () {

int cent;
cout<"Enter Centimas ( 0 to Stop ):"; cin>cent;

while (cent != 0){
cout" Cents is to ";
Centsyard (cent);

cout<"\nEnter Centimas ( 0 to Stop ):"; cin>cent;
}

cout<"~*~ -GOOD BYE- ~*~";
return 0;
}
void Centsyard (int cent){
int yard;

yard=(cent/90);
cent=(cent-(yard*90));

cout<" Yard and "<" Cents."
return ;
}

DTS04-14/07/2552

สรุปสาระการเรียนรู้ครั้งที่ 3
เรื่อง Set and String
โครงร้างข้อมูลแบบเซต
เป็น โครงสร้างข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กันในภาษาC จะไม่มีประเภทข้อมูลแบบเซ็ตนี้เหมือนกับภาษาปาสคาล แต่สามารถใช้หลักการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้

ตัวดำเนินการของเซ็ต
- Set intersection คือ การซ้ำกัน
- Set union คือ การรวมกัน AUB
- Set difference คือ ความแตกต่าง A-B หรือ B-A ตัวที่อยู่ในA แต่ไม่อยู่ในB


สตริงกับอะเรย์
สต ริง คือ อะเรย์ของอักขระ เช่น Char a[6] อาจจะเป็นอะเรย์ขนาด 6 ช่องอักขระ หรือเป็นสตริงขนาด 5 อักขระก็ได้ โดยจุดสิ้นสุดของ String จะจบด้วย \0 หรือ null character

อะเรย์ของสตริง
ถ้า หากมีสตริงจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอะเรย์ของสตริง เพื่อที่จะเขียนโปรแกรมได้สะดวก การสร้างอะเรย์ของสรตริงสามารถสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่ กำหนดเป็นตัวแปร

การดำเนินการเกี่ยวกับสตริง
ใน การดำเนินการเกี่ยวกับสตริง จะมีฟังก์ชันที่อยู่ในแฟ้มข้อมูล stdio.h เก็บอยู่ใน C Library อยู่แล้วสามารถนำมาใช้ได้ โดยการใช้คำสั่ง #include ในการเรียกใช้ เช่น
- ฟังก์ชัน strlen (str ) ย่อมาจาก string length ใช้ความหมายของสตริง
- ฟังก์ชัน strcpy (str1,str2 ) ย่อมาจาก string copy ใช้คัดลอกข้อมูลจาก หนึ่งไปยังอีก หนึ่ง
- ฟังก์ชัน strcat (str1,str2 ) ย่อมาจาก string concatente ใช้เชื่อมต่อข้อความ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
- ฟังก์ชัน strcmp(str1,str2 ) ย่อมาจาก string compare ใช้เปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่

29 มิถุนายน, 2552

สิ่งที่ฉันปรารถนา

สิ่งที่ฉันปรารถนา


23 มิถุนายน, 2552

ประวัติ



ชื่อ นางสาว ศศิธร ซ้ายหนองขาม ชื่อเล่น เปรี้ยว

Miss.Sasithorn Sainongkham

รหัสนักศึกษา 50132792057

หลักสูตร การบริหารธุกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) คณะ วิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

เบอร์โทรศัพท์ 08-97704221

E-mail :
u50132792057@gmail.com